ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นคณะวิชาด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะแรกในประเทศไทย

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาก่อตั้งในปี พ.ศ. 2508 โดย ศ.ดร.พล.ต.บัญชา มินทรขินทร์ คณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ตามประกาศในพระราชกฤษฎีกา จัดตั้งคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2508 ให้เพิ่มแผนกวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ขึ้นในคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ และเรียกปริญญาบัตรในสาขาวิชานี้ว่า สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต ชื่อภาษาอังกฤษว่า B.A. (Sociology and Anthropology)

ในการเตรียมการแรกเริ่มนั้นพลตรีบัญชา ได้พบปะสังสรรค์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กับนักคิดหลายท่านจากสถาบันต่างๆ อาทิ ศ.เกษม อุทยานิน ศ.ประเสริฐ แย้มกลิ่นฟุ้ง ศ.พัทยา สายหู รวมถึงการเรียนทาบทาม รศ.จำเรียง ภาวิจิตร และ รศ.เฉลิมศรี ธรรมบุตร มาร่วมงานในการเปิดแผนกวิชาดังกล่าว แต่ทว่าเมื่อถึงขั้นดำเนินการขออนุมัติตัวจากต้นสังกัด ได้รับการอนุมัติ เพียงให้มาช่วยราชการเป็นครั้งคราวประจวบกับ ศ.ดร.พลตรีบัญชา มินทรขินทร์ ได้รับคำสั่งย้าย ให้ไปเป็นเอกอัครราชทูตประจำกรุงไซง่อน จึงได้มอบภารกิจสำคัญสำหรับการดำเนินงาน จัดตั้งทีมงานรวมถึงการร่างหลักสูตรไว้กับ ศ.คุณหญิงสุภาพ วิเศษสุรการ ผู้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนกวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (เมษายน พ.ศ. 2508 – ธันวาคม พ.ศ. 2514) การดำเนินงานในการจัดตั้งผู้ร่วมงาน การร่างหลักสูตรได้ดำเนินลุล่วงไปด้วยดี

ต่อมาปี พ.ศ. 2520 แผนกวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้ปรับสถานะเป็นแผนกวิชาอิสระ มีสถานะเทียบเท่าคณะในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2520 ต่อมาได้ปรับสถานะเป็น คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา แห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527 สำหรับการพัฒนาทางวิชาการ คณะได้เปิดสอนระดับปริญญาโท สาขาวิชาสังคมวิทยา โดยใช้ชื่อปริญญาบัตรว่า สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (สังคมวิทยา) ชื่อภาษาอังกฤษว่า Master of Arts (Sociology) ต่อมาได้เปิดหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชามานุษยวิทยา โดยใช้ชื่อปริญญาบัตรว่า สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) ชื่อภาษาอังกฤษว่า Master of Arts (Anthropology) ที่มุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมการวิจัยภาคสนาม

ในปี พ.ศ. 2538 คณะได้เปิดหลักสูตรประกาศนียบัตรการวิจัยทางสังคม โดยใช้ชื่อปริญญาบัตรว่า ประกาศนียบัตรบัณฑิตการวิจัยทางสังคม ชื่อภาษาอังกฤษว่า Graduate Diploma in Social Research ต่อมาในปี พ.ศ. 2551 ได้เปิดหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาการวิจัยทางสังคม (โครงการพิเศษ) โดยใช้ชื่อปริญญาบัตรว่า สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) ชื่อภาษาอังกฤษว่า Bachelor of Arts (Social Research) ในปี พ.ศ. 2552 ได้เปิดโครงการปริญญาเอก สาขาวิชามานุษยวิทยา โดยใช้ชื่อปริญญาบัตรว่า ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (มานุษยวิทยา) ชื่อภาษาอังกฤษว่า Doctor of Philosophy (Anthropology) Ph.D. (Anthropology) และในปี พ.ศ. 2554 ได้เปิดโครงการปริญญาโท สาขาวิชาการวิจัยทางสังคม โดยใช้ชื่อปริญญาบัตรว่า สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) ชื่อภาษาอังกฤษว่า Master of Arts Program in Social Research

สัญลักษณ์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เริ่มใช้อย่างเป็นทางการในโอกาสครบรอบ 48 ปี วันคล้ายวันสถาปนาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ใน พ.ศ. 2556 มีที่มาจากแก้วหลากสี (polychrome glass) รูปศีรษะบุคคล สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ซึ่งพบบริเวณปากแม่น้ำโขง

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ อาจารย์ประจำคณะเขียนถึงแก้วหลากสีและสัญลักษณ์ดังกล่าวไว้ว่า "ความสำคัญของวัตถุชิ้นนี้ที่ปรากฏให้เห็นเด่นชัดก็คือ "สำนึกในความเป็นมนุษย์" เป็นสิ่งสากล ข้ามพื้นที่และเวลา ไม่ว่าจะเป็น "ตัวเรา" "ตัวเขา" หรือ "ผู้อื่น" จะเป็นภาพตัวแทนของคนที่อาศัยอยู่ใน "ชนบท" "ชายแดน" หรือ "เมืองใหญ่" เราต่างล้วนเป็น "มนุษย์" ที่ไม่มีเรื่องให้ต้องแปลกประหลาดใจ เช่นเดียวกับภาระหน้าที่ของนักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาก็คือ การเรียนรู้และทำความเข้าใจมนุษย์ ซึ่งอาจไม่ใช่จำเพาะเพื่อตัวมนุษย์เอง หากต้องขยายวงกว้างออกไปสู่สิ่งของและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รอบตัวเราด้วยเช่นกัน"

ในปีการศึกษา 2550 การดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการศึกษา มีการเปลี่ยนแปลงไปจากปีการศึกษา 2548 และปีการศึกษา 2549 จาก 7 มาตรฐาน 52 ตัวบ่งชี้ เป็น 9 องค์ประกอบ 68 ตัวบ่งชี้ โดยกำหนดให้องค์ประกอบแรกเป็นปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนงาน แยกออกมาให้เห็นเด่นชัด ตามด้วยองค์ประกอบการเรียนการสอนที่มีตัวบ่งชี้เกี่ยวข้องกับระบบและกลไกใน การพัฒนาและบริหารหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ได้มาตรฐาน กระบวนการพัฒนาอาจารย์ กระบวนการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมนอกหลักสูตรของนักศึกษา องค์ประกอบงานวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารและการจัดการ การเงินและงบประมาณ และระบบกลไกการประกันคุณภาพ

ผลการดำเนินงานโดยพิจารณาจากการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานในระบบประกันคุณภาพการศึกษา พบว่าในปีการศึกษา 2550 คณะสังคมวิทยาฯ ได้ผลการประเมินโดยรวมในระดับ "ดี" โดยมีค่าเฉลี่ยรวมทุกองค์ประกอบเท่ากับ 3.79 โดยเฉพาะในองค์ประกอบที่ 3 ด้านกิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา และองค์ประกอบที่ 6 ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มีผลการประเมินในระดับ "ดีมาก"


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

โดมทองแห่งเยรุซาเล็ม โบสถ์โนเตรอะดาม เซนต์โทมัส อาควีนัส ทัศนศิลป์ ลิแวนต์ อัลจีเรีย อ๊อตโตมาน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ฮอลแลนด์ สะฮารา ทัศนคติ สุนทรียภาพ ประสาท วัฒนธรรมบรรษัท นักสังคมวิทยา กลุ่มวัฒนธรรมย่อย วัฒนธรรมย่อย นักวิทยาศาสตร์สังคม เอ็ดการ์ เดอกาส วัฒนธรรมมวลชน มานุษยวิทยาสังคม มานุษยวิทยาวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยาสังคม นักโบราณคดี วานรวิทยา ประเพณี นักมานุษยวิทยา วัฒนธรรมนิยม วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมระดับสูง สินค้าบริโภค คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โครงสร้างนามธรรม ประวัติปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันตก ลัทธิสโตอิก ม่อจื่อ จวงจื่อ มีมางสา โยคะ สางขยะ ไวเศษิกะ นยายะ มัธยมกะ โยคาจาร เสาตรานติกะ จารวาก คัมภีร์พระเวท สารัตถะ ความเป็นจริง ปรัชญาตะวันออก สุนทรียศาสตร์ จริยศาสตร์ ความงาม คุณธรรม คุณวิทยา อรรฆวิทยา หนูผี พันเจีย สนามแม่เหล็ก เขตกึ่งร้อน ดาวเคราะห์คล้ายโลก บาป (ศาสนาคริสต์) คริสตชน จดหมายถึงชาวฮีบรู ศรัทธาในศาสนาพุทธ การอนุมาน สัมพัทธภาพทางความรู้ การจัดการความรู้ ทุนทางสังคม การลองผิดลองถูก ประสบการณ์ การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ ญาณวิทยา ความเข้าใจ อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24022